ພັນລາວ.ຄອມ
ຊອກຫາ:
ຊອກຫາແບບລະອຽດ
  ກະທູ້ມາໃໝ່   ຫມວດ   ອື່ນ ໆ » ຄົນໄກບ້ານ    

Forum
ເວັບບອດພັນລາວ
ເວັບບອດພັນລາວ ເປັນກະດານສົນທະນາສຳລັບສະມາຊິກພັນລາວທຸກທ່ານ ທ່ານສາມາດຕັ້ງກະທູ້ເພື່ອສອບຖາມ ສະແດງ ແລະຂໍຄຳເຫັນຈະສະມາຊິກຄົນອື່ນ ໆ ຕະຫຼອດຈົນເຖິງການສົນທະນາທົ່ວ ໆ ໄປໄດ້ໃນເວັບບອດແຫ່ງນີ້. ຫາກຕ້ອງການແຈ້ງກະທູ້ຜິດກົດລະບຽບ ໃຫ້ໂພສໄດ້ທີ່ http://punlao.com/webboard/topic/3/index/288147/
ອື່ນ ໆ » ຄົນໄກບ້ານ » ສອນພາສາລາວ..(ສຳຫລັບຄົນໄທຍ)

໑໑ ກະທູ້
໖໑໙ ໂພສ
ຊຳນານການເວັບບອດ
ເພື່ອບໍ່ເປັນການເສຍເວລາມາເລີ່ມກັນເລີຍ

บทที่ ๔: พยางค์ (1)
ບົດທີ່ ໔: ພະຍາງ

๑. พยางค์ในภาษาลาว

คำพูดในภาษาลาวบางคำออกเสียงครั้งเดียว บางคำก็ออกเสียงหลายครั้ง เสียงคำพูดที่ดังออกมาแต่ละครั้งนั้น เรียกว่า “ ພະຍາງ ” ( พยางค์ ) แปลว่า ส่วนของคำพูด, คำพูดใดหนึ่ง อาจมีส่วนเดียว หรือหลายส่วน. คำพูดในภาษาลาวส่วนมากจะเป็นคำที่มีพยางต์เดียว หรือส่วนเดียวเช่น : ພໍ່, ແມ່, ປ້າ, ລຸງ, ບ້ານ, ເມືອງ … แต่บางคำก็มีหลายพยางค์เช่น :

ນັກຮຽນ ( นักเรียน ) เป็นคำที่มี ๒ พยางค์
ວັນນະຍຸດ ( วรรณยุกต์ ) เป็นคำที่มี ๓ พยางค์
ພະຍັນຊະນະ ( พยัญชนะ ) เป็นคำที่มี ๔ พยางค์
ປະຊາທິປະໄຕ ( ประชาธิปไตย ) เป็นคำที่มี ๕ พยางค์

พยางค์หนึ่ง ๆ ประกอบด้วยเสียงอย่างน้อยที่สุด ๒ เสียงคือ : เสียงพยัญชนะ และเสียงสระ ตัวอย่างเช่น : ກາ, ປາ, ນາ… ส่วนมากแล้ว พยางค์ จะประกอบมีเสียงพยัญชนะแกน, เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์. บางพยางค์มีเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียง เรียกว่า “ ສຽງສະກົດ ” (เสียงสะกด)

บทที่ ๔: พยางค์ (2)
ບົດທີ່ ໔: ພະຍາງ

ก. การประกอบพยางค์

การประกอบพยางค์ คือการเอาพยัญชนะ, สระ, วรรณยุกต์ หรือตัวสะกดประกอบเข้ากันให้เป็นคำพูด. พยางค์หนึ่ง ๆ อาจมีแต่พยัญชนะ กับสระประกอบกัน, บางพยางค์ อาจมีทั้งพยัญชนะ, สระ, วรรณ์ยุกต์ และตัวสะกดร่วมด้วย ตัวอย่างเช่น :

ຫາ มีแต่พยัญชนะกับสระ
ຫ້າ มีทั้งพยัญชนะ, สระ และวรรณยุกต์
ຫ່ານ มีทั้งพยัญชนะ, สระ, วรรณยุกต์ และตัวสะกด ๆลๆ.

การใช้พยัญชนะในพยางค์หนึ่ง ๆ มี ๒ วิธีใช้คือ

๑. เป็นพยัญชนะต้นพยางค์
๒. เป็นตัวสะกด

บทที่ ๔: พยางค์ (3)
ບົດທີ່ ໔: ພະຍາງ

ข. ใช้เป็นพยัญชนะต้นพยางค์

พยัญชนะต้นพยางค์คือพยัญชนะพวกอักษรแกน ซึ่งเอาเสียงของตนไปเป็นแกนของคำพูด คือเป็นตัวออกเสียงในพยางค์ที่ไม่ใช่เสียงตัวสะกด. พยัญชนะต้นพยางค์มี ๒ ประเภทคือ ต้นพยางค์ตัวเดียว ได้แก่พยัญชนะเค้า หรืพยัญชนะเปลี่ยว และต้นพยางค์ ๒ ตัวได้แก่ พยัญชนะสองตัวที่อยู่ด้วยกัน โดยอาศัยสระเดียวกัน ดังนี้:

+ พยัญชนะต้นพยางค์ตัวเดียว: เป็นพยัญชนะเค้า หรือพยัญชนะเปลี่ยว แต่ละตัวที่ประกอบกันกับสระ อาจมีตัวสะกด, มีวรรณยุกต์ หรือไม่ก็ตาม ตัวอย่างเช่น :

ຕາ, ສີ, ມື, ແປ, ເຄືອ, ຍາວ, ດອນ, ທ້າວ, ຮຸ່ງ, ເຮືອງ, … ตัว ຕ, ສ, ມ, ປ, ຄ, ຍ, ດ, ທ, ຮ, ຮ ที่ออกเสียงอยู่ในคำเหล่านั้นเป็นพยัญชนะเค้า หรือพยัญชนะเปลี่ยว ซึ่งเป็นพยัญชนะต้นคำ หรือต้นพยางค์เดียว

+ พยัญชนะต้นพยางค์สองตัว: เป็นพยัญชนะผสมทั้ง ๖ ตัว และพยัญชนะควบ ๑ ตัว ที่เอามาผสมใส่กับสระ อาจจะมีตัวสะกด, มีวรรณยุกต์ หรือไม่มีก็ตาม ตัวอย่างเช่น:

พยัญชนะผสม : ໜາແໜ້ນ, ໝໍ້ໜຶ້ງ, ຫຼວງຫຼາຍ, ຫຍ້າຫວາຍ, … ตัว ໜ, ໜ, ໝ, ໜ ຫຼ, ຫຼ, ຫຍ, ຫວ ที่ออกเสียงอยู่ในคำเหล่านั้นเป็นพยัญชนะผสม ซึ่งเป็นพยัญชนะต้นพยางค์ ๒ ตัว.

พยัญชนะควบ: ກວາ, ຂ້າງຂວາ, ຄົ້ນຄວ້າ, ຄວາຍເຖິງ, ງົມງວາຍ, ໄຈ້ວ ໆ, ສວ່າງເຊົາ, … ตัว ກວ, ຂວ, ຄວ, ຄວ, ງວ, ຈວ, ສວ ที่ออกเสียงอยู่ในึำเหล่านั้น เป็นพยัญชนะึควบ ซึ่งเป็นพยัญชนะต้นพยางค์ ๒ ตัว.


໑໑ ກະທູ້
໖໑໙ ໂພສ
ຊຳນານການເວັບບອດ
ພະຍາຍາມສຶກສາໃຫ້ເຂົ້າໃຈແລ້ວຈະມາສອນບົດຕໍ່ໄປ (พยายามศึกษาให้เข้าใจแล้วจะมาสอนบทต่อไป)


໔ ກະທູ້
໑໐໓ ໂພສ
ນັກການກະທູ້
ໂດຍຍຍ....ຂອບໃຈຫຼາຍເດີ້ສະຫາຍ..............



໓ ກະທູ້
໔໐ ໂພສ
ຂາປະຈຳເວັບບອດ
ໂອ້ ດີລາຍ ທ່ານ ຂ້າພເຈ້າກຳລັງຮຽນພາສາລາວ ຕ້ອງການຄວາມຮູ້ ແຕ່ຍັງບ
ยากให้ท่านช่วยแนะนำการพิมในคีบอร์ดนำไ้ด้บ่อ โดยเฉพาะการผสมคำ แม่นพิมพ์ยากหลาย (เช่นคำว่า หลวงหลาย เพียงพอ หรือ )
เทียบเคียงกับคีบอร์ดภาษาไทย


໔໗ ກະທູ້
໖໘໙ ໂພສ
ຊຳນານການເວັບບອດ
ພາສາຄ້າຍໆກັນເນາະ

ເປັນຄົນດີຂອງສັງຄົມ-ເປັນລູກທີ່ດີຂອງພໍ່ແມ່